โลก ธรรม ธรรมชาติ
โลกกลับคืนสู่ธรรมชาติ
เมื่อมนุษย์ต้องเก็บตัวอยู่ในบ้ าน ธรรมชาติเริ่มมีการฟื้นฟู ต้นไม้ ใบไม้ สัตว์ต่าง ๆ เริ่มออกมาปรากฏตัวให้เห็นหลั งจากที่หลบซ่อนตัวเพื่ อความปลอดภัยของชีวิต
** สถานการณ์โควิด-19 ที่ค่อนข้างรุนแรง คร่าชีวิตผู้คนทั้ งโลกโดยปราศจากวัคซินที่ทำการรั กษาโรคนี้ ทำให้ผู้คนทั้งหลายต้องหลบอยู่ ในบ้านของตน หลีกเลี่ยงการออกนอกบ้าน หลีกเลี่ยงจากการพบปะเพื่อป้องกันไวรัสโรคร้ายอันเป็ นละอองฝอยเล็ก ๆที่อาจจะเป็นพาหะในการติดต่ อของโรค
เมื่อผู้คนทั้งหลายต่างเก็บตั วเพื่อมิให้โรคนี้กระจาย จึงเป็นโอกาสอันดีที่อาจจะทำให้ ธรรมชาติที่เคยถูกรังแกฟื้นตั วขึ้นมา
เมื่อมนุษย์ถากถางป่า สร้างเป็นเมือง การบุกรุกป่าทำให้ สภาพของธรรมชาติเสียหาย
ป่าไม้ หายไปเป็นจำนวนหลายร้อยไร่ สัตว์ป่าบางชนิดสูญพันธ์ุ นกไร้ต้นไม้ทำรังหรือแม้แต่ ปลาที่อยู่ในแม่น้ำ ลำคลอง ท้องทะเล ก็ต้องเจอกับมลพิษกับเหล่ามนุ ษย์ที่ไม่รักษาสมดุลธรรมชาติเบี ยดเบียน
การกินอยู่ การอยู่อาศัยของมนุษย์อาจไปเบี ยดเบียนและรบกวนเพื่อนร่ วมโลกเหล่านั้นดังนั้นเมื่อสิ่ งที่ละเมิดธรรมชาติเกิดขึ้ นมากไป จึงทำให้ธรรมชาติจึงต้องรั กษาสมดุลของธรรมชาติเอง ด้วยการเกิดโรคระบาด ภัยพิบัติต่าง ๆ
ในคัมภีร์พระไตรปิฎก กล่าวถึงธรรมชาติที่ไม่โดนบุกรุ ก ป่าอันร่มรื่นโดยที่พระอุปสีวเุ ถระ ได้กล่าวถึงการสร้างอาศรมใกล้กั บภูเขาอโนมะ
มีแม่น้ำไหลอยู่ ในแม่น้ำประกอบด้วยกอบัว อันประกอบไปด้วยบัวขาว บ้วแดง บัวสาย
ใต้กอบัวนั้นมีปลาสลาด ปลากระบอก ปลาสวาย ปลาเค้า ปลาตะเพียน เต่าชุกชุม
ต้นไม้ที่มีหลายหลาก เช่นต้นดีหมี ต้นอโสก ต้นเข็ม ต้นชาตบุต มะงั่ว มะนาวขึ้นรอบอาศรม ต้นที่ขึ้นเป็นหมู่ ๆ ประกอบไปด้วยต้นรัง ต้นสน ต้นจำปา ต้นกุ่ม ต้นอุโลก สลัดได ต้นประดู่ ต้นมะซางหอม ต้นราชพฤกษ์ ต้นราชพฤกษ แคฝอย ต้นประยงค์ ต้นมะกล่ำหลวง ต้นช้างน้าว
นกทั้งหลายอันประกอบไปด้วยนกพิ ราบ นกคับแค นกกวัก นกกาน้ำนกต้อยตีวิดนกค้อนหอย นกโพระดก กระรอก กระแต นกเขา เหยี่ยว ไก่ป่า ฟาน กวาง เสือโคร่ง เสือดาว ลิง หมี
จากบันทึกในพระไตรปิฎกพอสันนิษฐานได้ ว่า ในสมัยนั้น ธรรมชาติช่ างงดงามเหมาะสมในการอยู่ร่วมกั นระหว่างมนุษย์ สัตว์ และป่าไม้ ค่อนข้างจะรักษาสมดุลระหว่างกัน
ป่าในสมัยนั้นจึงค่อนข้างร่มรื่ น ร่มเย็น สดชื่นเหมาะสมกับการปฏิบัติธรรมเพื่อให้เข้าถึ งพระรัตนตรัยอย่างแท้จริง
เมื่อกาลเวลาผ่านไป การเปลี่ยนแปลงบังเกิดขึ้น กิเลสของมนุษย์มากขึ้น การรุกรานธรรมชาติเพิ่มขึ้น ศีลของมนุษย์เริ่มลดน้อยถอยลง
ดังนั้นเมื่อธรรมชาติถูกรั งแกมากขึ้น จึงต้องทำให้เกิดความสมดุล เมื่อเกิดโรคระบาดมนุษย์จึงต้องกักตัวอยู่ในที่พัก สิ่งนี้อาจทำให้ธรรมชาติได้พัก และฟื้นตัวเร็วขึ้น
ดังนั้นในสถานที่ต่าง ๆจึงพบเห็นสัตว์ที่หาดูได้ ยากออกมาเช่นปลาวาฬ ปลาโลมา ผุดขึ้นมาว่ายน้ำทะเล
ปลาโลมาสีชมพู แหวกว่ายทะเลที่เกาะพงัน
ภูเขาหิมาลัยที่สามารถมองเห็ นได้อย่างง่าย ๆโดยไม่มีควันจากมลพิษ
แม่น้ำคงคาที่ใสสะอาดบริสุทธิ์
นอกจากธรรมชาติจะได้ฟื้นฟูแล้ว
"ใจ" ของผู้ที่อาศัยร่วมโลกยังได้ ปรากฏขึ้น
ดังเช่น
การแจกอาหาร ยารักษาโรค ปัจจัยที่จำเป็นในการดำรงชีพให้ กับผู้ที่ยากไร้ ผู้ที่มีโอกาสน้อยทางสังคม
สิ่งนี้เป็นสิ่งที่ทำได้ค่อนข้ างยากในสังคมปัจจุบันแต่ก็ได้ เกิดขึ้นแล้ว
"ใจ" เป็นสิ่งสำคัญ เมื่อ"ใจ" อยากจะ "ให้ "
การให้ เป็นการขจัดความตระหนี่ออกจากใจ
พระไตรปิฎก กล่าวถึงการให้ ผู้ให้ทาน ย่อมเป็นที่รักของชนเป็นอันมาก ได้ชื่อว่าดำเนินตามธรรมของสั ปบุรุษ
การให้ทานตามกาลเวลาในขณะที่เกิ ดโรคระบาด จะเป็นผู้ที่มีจิตใจผ่ องใสและได้อานิสงส์ของการให้ ทานอย่างเต็มที่ ประดุจผลไม้ที่ดีเลิศที่ คราวแรกจากสวน
สรุป
เมื่อธรรมชาติได้มีโอกาสฟื้นขึ้ นมา ความสวยงาม ความงดงามทำให้โลกสวยขึ้น
โลกงดงามขึ้นมีผลต่อจิตใจของมนุ ษย์ มนุษย์เริ่มฟื้นฟูศีลธรรมที่เกิ ดขึ้นในใจออกมาอย่างไม่รู้ตัว ความดีงามที่ซ่อนเร้นปรากฎขึ้ นเมื่อสมาชิกร่วมโลกต้องเจอกั บโรคระบาด ภัยพิบัติ ที่มองไม่เห็น
มนุษย์ได้มีโอกาสเปลี่ยนวิกฤติ เป็นโอกาส ในการให้ทาน รักษาศีลห้า และได้พิจารณาตนเอง ได้มีโอกาสมีส่วนร่วมในกิ จกรรมต่าง ๆของครอบครัว จัดสรรเวลาได้อย่างลงตัว ในเวลาที่เหมาะสม
เหตุการณ์ที่ทำให้เกิ ดโรคระบาดและภัยพิบัติ ก่อให้เกิดหลักธรรมพรหมวิหาร 4 ขึ้นดังเช่นความเมตตา ความกรุณาที่ปรารถนาให้ผู้ที่ ได้รับความเดือดร้อนเป็นสุข และมีมุทิตาจิตเป็นสุขเมื่อผู้ ที่ประสบภัยได้รับการช่วยเหลือ รวมทั้งการมีจิตใจที่วางใจเป็ น
กลางในบางครั้งที่ผู้ประสบภั ยอยู่ในฐานะที่ไม่อาจจะช่วยเหลื อได้ทันท่วงที
สันนิษฐานได้ว่า เมื่อโรคระบาด และ ภัยพิบัติต่าง ๆ สงบลง มนุษย์จะมีจิตใจที่ งดงามและสามารถอยู่ร่วมกับสัตว์ โลกผู้น่ารักรวมทั้งรั กษาธรรมชาติที่เป็นป่า ภูเขา แม่น้ำ ทะเล ได้อย่างปรกติสุข
คำสำคัญ:โลก ธรรม ธรรมชาติ
refers:
พระไตรปิฎก เล่มท่ี่ 2 หน้าที่ 35 -36
พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต ข้อที่ 25
เรื่อง ทานานิสังสสูตรและ กาลทานสูตร
พระไตรปิฎกเล่มที่ 32 หน้าที่ 410
พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาคที่ 1 ข้อที่ 407
เรื่อง อุปสีวเถราปทานที่ 5 ว่าด้วยการสร้างอาศรม
เมื่อมนุษย์ต้องเก็บตัวอยู่ในบ้
** สถานการณ์โควิด-19 ที่ค่อนข้างรุนแรง คร่าชีวิตผู้คนทั้
เมื่อผู้คนทั้งหลายต่างเก็บตั
เมื่อมนุษย์ถากถางป่า สร้างเป็นเมือง การบุกรุกป่าทำให้
ป่าไม้
การกินอยู่ การอยู่อาศัยของมนุษย์อาจไปเบี
ในคัมภีร์พระไตรปิฎก กล่าวถึงธรรมชาติที่ไม่โดนบุกรุ
มีแม่น้ำไหลอยู่ ในแม่น้ำประกอบด้วยกอบัว อันประกอบไปด้วยบัวขาว บ้วแดง บัวสาย
ใต้กอบัวนั้นมีปลาสลาด ปลากระบอก ปลาสวาย ปลาเค้า ปลาตะเพียน เต่าชุกชุม
ต้นไม้ที่มีหลายหลาก เช่นต้นดีหมี ต้นอโสก ต้นเข็ม ต้นชาตบุต มะงั่ว มะนาวขึ้นรอบอาศรม ต้นที่ขึ้นเป็นหมู่ ๆ ประกอบไปด้วยต้นรัง ต้นสน ต้นจำปา ต้นกุ่ม ต้นอุโลก สลัดได ต้นประดู่ ต้นมะซางหอม ต้นราชพฤกษ์ ต้นราชพฤกษ แคฝอย ต้นประยงค์ ต้นมะกล่ำหลวง ต้นช้างน้าว
นกทั้งหลายอันประกอบไปด้วยนกพิ
จากบันทึกในพระไตรปิฎกพอสันนิษฐานได้
ป่าในสมัยนั้นจึงค่อนข้างร่มรื่
เมื่อกาลเวลาผ่านไป การเปลี่ยนแปลงบังเกิดขึ้น กิเลสของมนุษย์มากขึ้น การรุกรานธรรมชาติเพิ่มขึ้น ศีลของมนุษย์เริ่มลดน้อยถอยลง
ดังนั้นเมื่อธรรมชาติถูกรั
ดังนั้นในสถานที่ต่าง ๆจึงพบเห็นสัตว์ที่หาดูได้
ปลาโลมาสีชมพู แหวกว่ายทะเลที่เกาะพงัน
ภูเขาหิมาลัยที่สามารถมองเห็
แม่น้ำคงคาที่ใสสะอาดบริสุทธิ์
นอกจากธรรมชาติจะได้ฟื้นฟูแล้ว
"ใจ" ของผู้ที่อาศัยร่วมโลกยังได้
ดังเช่น
การแจกอาหาร ยารักษาโรค ปัจจัยที่จำเป็นในการดำรงชีพให้
สิ่งนี้เป็นสิ่งที่ทำได้ค่อนข้
"ใจ" เป็นสิ่งสำคัญ เมื่อ"ใจ" อยากจะ "ให้ "
การให้ เป็นการขจัดความตระหนี่ออกจากใจ
พระไตรปิฎก กล่าวถึงการให้ ผู้ให้ทาน ย่อมเป็นที่รักของชนเป็นอันมาก ได้ชื่อว่าดำเนินตามธรรมของสั
การให้ทานตามกาลเวลาในขณะที่เกิ
สรุป
เมื่อธรรมชาติได้มีโอกาสฟื้นขึ้
โลกงดงามขึ้นมีผลต่อจิตใจของมนุ
มนุษย์ได้มีโอกาสเปลี่ยนวิกฤติ
เหตุการณ์ที่ทำให้เกิ
กลางในบางครั้งที่ผู้ประสบภั
สันนิษฐานได้ว่า เมื่อโรคระบาด และ ภัยพิบัติต่าง ๆ สงบลง มนุษย์จะมีจิตใจที่
คำสำคัญ:โลก ธรรม ธรรมชาติ
refers:
พระไตรปิฎก เล่มท่ี่ 2 หน้าที่ 35 -36
พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต ข้อที่ 25
เรื่อง ทานานิสังสสูตรและ กาลทานสูตร
พระไตรปิฎกเล่มที่ 32 หน้าที่ 410
พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน ภาคที่ 1 ข้อที่ 407
เรื่อง อุปสีวเถราปทานที่ 5 ว่าด้วยการสร้างอาศรม
สาธุ สาธุ สาธุ
ตอบลบ